วันพุธ ที่ 14 กุมภาพันธ์ 2561
❤ ความรู้ที่ได้รับ
เมื่อเด็กสามารถตอบโต้โดยใช้เหตุผลได้ เราจะเรียกขั้นนี้ว่า "ขั้นอนุรักษ์" เช่นการทอดลองของเพียเจย์เมื่อใส่น้ำลงไปในแก้ว แม้รูปร่างจะเปลี่ยนไป แต่ปริมาตรยังคงเดิม
⧫ ความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์ตามหลักเพียเจท์
เพียเจท์ ได้แบ่งพัฒนาการทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กเป็น 2 ชนิด ดังนี้
1. ความรู้ทางกายภาพ
2. ความรู้ด้านเหตุผลทางคณิตศาสตร์
⧫ ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
ประกอบด้วยหัวข้อเนื้อหาหรือทักษะ
1. การนับ (Counting)
2. ตัวเลข (Number)
3. การจับคู่ (Matching)
4. การจัดประเภท (Classification)
5. การเปรียบเทียบ (Comparing)
6. การจัดลำดับ (Ordering)
7. รูปทรงและเนื้อที่ (Shape and space)
8. การวัด (Measurement)
9. เซต (Set)
10. เศษส่วน (Fraction)
11. การทำตามแบบและลวดลาย (Patterning)
12. การอนุรักษ์ หรือการคงที่ด้านปริมาณ (Conservation)
⧫ หลักการพัฒนาความสามารถทางคณิตศาสตร์ตามแนวทางการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์แก่เด็กปฐมวัย
11. การทำตามแบบและลวดลาย (Patterning)
12. การอนุรักษ์ หรือการคงที่ด้านปริมาณ (Conservation)
⧫ หลักการพัฒนาความสามารถทางคณิตศาสตร์ตามแนวทางการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์แก่เด็กปฐมวัย
1. เด็กเรียนจากประสบการณ์ตรงจากของจริง เริ่มจากการสอนรูปธรรม คือ
1.1 ขั้นใช้ของจริง
1.2 ขั้นใช้รูปภาพแทนของจริง
1.3 ขั้นกึ่งรูปภาพ
1.4 ขั้นนามธรรม
2. เริ่มจากสิ่งที่ง่ายๆใกล้ตัวเด็กจากง่ายไปหายาก
3. สร้างความเข้าใจและรู้ความหมายมากกว่าให้จำ
4. ให้คิดจากปัญหาในชีวิตประจำวันของเด็กเพื่อขยายประสบการณ์ให้สัมพันธ์กับประสบการณ์เดิม
5. จัดกิจกรรมให้เกิดความสนุกสนานและได้รับความรู้ไปด้วย
6. จัดกิจกรรมให้เข้าใจในขั้นตอนให้มีประสบการณ์ให้มาก แล้วสรุปกฎเกณฑ์เพื่อจำเป็นอันดับสุดท้าย
7. จัดกิจกรรมทบทวน โดยตั้งคำถามให้ตอบปากเปล่าหรือสร้างเรื่องราวให้คิดซ้ำส่งเสริมให้เด็กคิดปัญหาและหาเหตุผล ข้อเท็จจริง
❤ การประเมินผล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น