วันศุกร์ ที่ 16 มีนาคม 2561
❤ ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์สอนเรื่องสาระสำคัญทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
มี 6 สาระ คือ
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
➤ จำนวนนับที่บอกสิ่งต่างๆ
➤ จำนวนนับ หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า... เป็นจำนวนนับที่เพิ่มขึ้นที่ละหนึ่งตามลำดับ ศูนย์ไม่ใช้จำนวนนับ
➤ ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแสดงจำนวน
➤ สัญญาลักษญ์พื้นฐานที่ใช้เขียนแสดงจำนวน เรียกว่า เลขโดด ในระบบฐานสิบ มี 10 ตัว ดังนี้
ตัวเลขฮินดูอารบิก ได้แก่ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
ตัวเลขไทย ได้แก่ o ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙
อ่านว่า หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า หก เจ็ด แปด เก้า สิบ ตามลำดับ
➤ จำนวนสองจำนวนเมื่อนำมาเปรียบเทียบกันจะมีค่าเท่ากัน มากกว่ากัน หรือน้อยกว่ากันอย่างใด อย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว
➤ การเรียงลำดับจำนวนอาจเรียงจากน้อยไปหามาก หรือจากมากไปหาน้อย
➤ การบอกอันดับที่ของสิ่งต่างๆ จะต้องกำหนดสิ่งเริ่มต้นก่อน แล้วจึงจัดอันดับ ที่หนึ่ง ที่สอง ที่สาม ที่สี่ ที่ห้า... เป็นการบอกอันดับที่
➤ การรวมตัวเป็นการนับรวมจำนวนต่างๆ สองกลุ่ม ได้ผลรวมมากขึ้น
➤ การแยกเป็นการนำจำนวนสิ่งต่างๆ ออกจากกลุ่มใหญ่แล้วบอกจำนวนที่เหลือ
สาระที่ 2 การวัด
➤ การวัดความยาวของสิ่งต่างๆเป็นการหาความยาวตามแนวนอน
➤ การวัดความสูงเป็นการหาความยาวแนวตั้ง
➤ การวัดความยาว ความสูง ของสิ่งต่างๆ อาจใช้เครื่องมือวัดที่มีหน่วยไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน ยาวกว่า สั้นกว่า สูงกว่า เตี้ยกว่า ต่ำกว่า ยาวเท่ากัน สูงเท่ากัน เป็นคำที่ใช้ในการเปรียบเทียบความยาว ความสูงของสิ่งต่างๆ
➤ การรียงลำดับความยาว ความสูง อาจเรียงจากน้อยไปหามากหรือมากไปน้อย
➤ การชั่งน้ำหนักของสิ่งต่างๆอาจใช้เครื่องวัดชั่งน้ำหนักที่มีหน่วยไม่ใช่มาตรฐาน หนักกว่า เบากว่า หนักเท่ากัน เป็นคำที่ใช้ในการเปรียบเทียบน้ำหนักของสิ่งต่างๆ
➤ การเรียงลำดับน้ำหนักของสิ่งต่างๆอาจเรียงจากน้อยไปหามากหรือจากมากไปหาน้อย
➤ การตวงของสิ่งต่างๆ อาจใช้เครื่องมือตวงที่มีหน่วยไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
➤ ปริมาตรมากกว่า ปริมาตรน้อยกว่า ปริมาตรเท่ากันเป็นคำที่ใช้ในการเปรียบเทียบปริมาตรของสิ่งต่างๆ
ต่อมาอาจารย์ก็ให้กระดาษมาตีตาราง 2 ช่อง ช่องแรกคือสาระคณิตศาสตร์ทั้ง 6 สาระ และอีกช่องอาจารย์ให้คิดกิจกรรมมา 1 กิจกรรมที่สอดคล้องกับสาระต่างๆแต่สาระ
วันนี้อาจารย์สอนเรื่องสาระสำคัญทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
มี 6 สาระ คือ
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
➤ จำนวนนับที่บอกสิ่งต่างๆ
➤ จำนวนนับ หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า... เป็นจำนวนนับที่เพิ่มขึ้นที่ละหนึ่งตามลำดับ ศูนย์ไม่ใช้จำนวนนับ
➤ ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแสดงจำนวน
➤ สัญญาลักษญ์พื้นฐานที่ใช้เขียนแสดงจำนวน เรียกว่า เลขโดด ในระบบฐานสิบ มี 10 ตัว ดังนี้
ตัวเลขฮินดูอารบิก ได้แก่ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
ตัวเลขไทย ได้แก่ o ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙
อ่านว่า หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า หก เจ็ด แปด เก้า สิบ ตามลำดับ
➤ จำนวนสองจำนวนเมื่อนำมาเปรียบเทียบกันจะมีค่าเท่ากัน มากกว่ากัน หรือน้อยกว่ากันอย่างใด อย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว
➤ การเรียงลำดับจำนวนอาจเรียงจากน้อยไปหามาก หรือจากมากไปหาน้อย
➤ การบอกอันดับที่ของสิ่งต่างๆ จะต้องกำหนดสิ่งเริ่มต้นก่อน แล้วจึงจัดอันดับ ที่หนึ่ง ที่สอง ที่สาม ที่สี่ ที่ห้า... เป็นการบอกอันดับที่
➤ การรวมตัวเป็นการนับรวมจำนวนต่างๆ สองกลุ่ม ได้ผลรวมมากขึ้น
➤ การแยกเป็นการนำจำนวนสิ่งต่างๆ ออกจากกลุ่มใหญ่แล้วบอกจำนวนที่เหลือ
➤ การวัดความยาวของสิ่งต่างๆเป็นการหาความยาวตามแนวนอน
➤ การวัดความสูงเป็นการหาความยาวแนวตั้ง
➤ การวัดความยาว ความสูง ของสิ่งต่างๆ อาจใช้เครื่องมือวัดที่มีหน่วยไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน ยาวกว่า สั้นกว่า สูงกว่า เตี้ยกว่า ต่ำกว่า ยาวเท่ากัน สูงเท่ากัน เป็นคำที่ใช้ในการเปรียบเทียบความยาว ความสูงของสิ่งต่างๆ
➤ การรียงลำดับความยาว ความสูง อาจเรียงจากน้อยไปหามากหรือมากไปน้อย
➤ การชั่งน้ำหนักของสิ่งต่างๆอาจใช้เครื่องวัดชั่งน้ำหนักที่มีหน่วยไม่ใช่มาตรฐาน หนักกว่า เบากว่า หนักเท่ากัน เป็นคำที่ใช้ในการเปรียบเทียบน้ำหนักของสิ่งต่างๆ
➤ การเรียงลำดับน้ำหนักของสิ่งต่างๆอาจเรียงจากน้อยไปหามากหรือจากมากไปหาน้อย
➤ การตวงของสิ่งต่างๆ อาจใช้เครื่องมือตวงที่มีหน่วยไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
➤ ปริมาตรมากกว่า ปริมาตรน้อยกว่า ปริมาตรเท่ากันเป็นคำที่ใช้ในการเปรียบเทียบปริมาตรของสิ่งต่างๆ
➤ การเรียงลำดับปริมาตรของสิ่งต่างๆ อาจเรียงจากน้อยไปหา
มาก หรือจากมากไปหาน้อย
➤ เงินเหรียญและธนบัตร เป็นสิ่งที่ใช้ในการซื้อขายตัวเลขที่
ด้านหลังเงินเหรียญ บอกค่าของเหรียญแต่ละเหรียญ ตัวเลขที่อยู่บน
ธนบัตรบอกค่าของธนบัตรแต่ละฉบับ บาท เป็นสกุเงินไทย
➤ เวลาแต่ละวันแบ่งเป็น 2 ช่วงใหญ่ๆ คือ กลางวันและ
กลางคืน
➤ เช้า เที่ยง เย็น เมื่อวาน วันนี้ พรุ่งนี้ เป็นคำที่ใช้บอกช่วง
เวลาต่างๆ
➤ 1 สัปดาห์ มี 7 วันเรียงลำดับดังนี้ วันอาทิตย์ วันจันทร์
วันอังคาร วันพุธ วันพฤหัสบดี วันศุกร์และวันเสาร์
สาระที่ 3 เรขาคณิต
➤ ข้างบน ข้างล่าง ข้างใน ข้องนอก ข้างหลัง ข้างซ้าย ข้างขวา
ใกล้ ไกล เป็นคำที่ใช้บอกตำปแหน่งทิศทาง ระยะทางของสิ่งของสิ่ง
ต่างๆ
➤ การจำแนกทรงกลม ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก กรวย ทรง
กระบอก และรูปวงกลม รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม ใช้วิธีพิจารณา
รูปร่างและขอบของรูป
สาระที่ 4 พีชคณิต
➤ แบบรูปเป็นความสัมพันธ์ที่แสดงลักษณะสำคัญร่วมของชุด
ของจำนวนรูปเรขาคณิตหรือสิ่งต่างๆ
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
➤ การเก็บรวบรวมข้อมูลอาจใช้วิธีสังเกตหรือสอบถามก็ได้
➤ แผนภูมิรูปภาพเป็นการนำเสนอข้อมูลอย่างง่าย โดยใช้
รูปภาพแสดงจำนวนของสิ่งต่างๆอาจวางรูปตามแนวนอนหรือแนวตั้ง
ก็ได้
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
➤ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความ
หมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอการเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทาง
คณิตสาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆและมีความคิด
สร้างสรรค์
ต่อมาอาจารย์ก็ให้กระดาษมาตีตาราง 2 ช่อง ช่องแรกคือสาระคณิตศาสตร์ทั้ง 6 สาระ และอีกช่องอาจารย์ให้คิดกิจกรรมมา 1 กิจกรรมที่สอดคล้องกับสาระต่างๆแต่สาระ
❤ การประเมินผล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น